Site hosted by Angelfire.com: Build your free website today!

รายงานประจำปีการศึกษา 2545

การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา

ของ

โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า

ปีการศึกษา 2545

( ต.ค.44 – ก.ย.45 )

คำนำ

รายงานประจำปีการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ของ โรงเรียนทหารม้า ฉบับนี้ จัดทำขึ้น เพื่อรวบรวมการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ของ รร.ม.ศม. ประจำปีงบประมาณ 2545 ตั้งแต่ ตุลาคม 2544 ถึง กันยายน 2545 รายงานฉบับนี้ได้ ตรวจสอบปัจจัยที่เกี่ยวข้องและวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ของสถาบัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ ในการวางแผนการบริหารจัดการ และพัฒนา รร.ม.ศม.ต่อไป ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามี ประสิทธิภาพ และเป็นไปตามความต้องการของหน่วย/เหล่าทหารม้า ต่อไป

พ.อ.

( จุมภฎ เดชะวรรธนะ )

รอง ผบ.รร.ม.ศม.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สารบัญเนื้อหา

คำนำ หน้า

ส่วนที่ 1 กล่าวทั่วไป 1

1. สรุปข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับโรงเรียนทหารม้า 1 - 9

    1. ชื่อหน่วย 1
    2. ที่ตั้ง 1
    3. ประวัติความเป็นมา 1 - 2
    4. ชื่อหัวหน้าหน่วย 2
    5. ชื่อคณะกรรมการประกันคุณภาพ 2 - 3
    6. ภารกิจ 3 - 6
    7. โครงสร้างการบริหาร 7 - 9
      1. Organization Chart ( ผังการจัดหน่วยงาน ) 7
      2. Administration Chart ( ผังสายการบังคับบัญชา ) 8
      3. Activity Chart ( ผังการปฏิบัติงาน ) 9

2. การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกัน 10 - 12

3. การแต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน 12 - 13

    1. คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 12
    2. คณะอนุกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 13

4. การกำหนดนโยบายและหรือการกำหนดแผนการดำเนินงาน

ประกันคุณภาพการศึกษา 14 - 17

ส่วนที่ 2 ดัชนี และเกณฑ์การตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 18 - 23

ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงานเป็นรายองค์ประกอบ 24 - 26

ส่วนที่ 4 จุดอ่อน – แนวทางแก้ไข และจุดแข็ง –

แนวทางเสริมแต่ละองค์ประกอบ 27 - 31

ส่วนที่ 5 การนำไปใช้ประโยชน์ แผนพัฒนาการศึกษา 32 - 33

รายงานประจำปีการศึกษา 2545

การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา

ส่วนที่ 1

กล่าวทั่วไป

  1. สรุปข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับโรงเรียนทหารม้า
    1. ชื่อหน่วยงาน
    2. โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า

    3. ที่ตั้ง
    4. ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดิศร อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี

    5. ประวัติความเป็นมา
    6. โรงเรียนทหารม้า มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน โดยถือกำเนิดมาตั้งแต่ พ.ศ.2471 จวบจนถึงเวลาปัจจุบัน นับได้ 75 ปี โดยมีที่ตั้งในครั้งแรกอยู่บริเวณพื้นที่ด้านหลังของกองพลปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ( เกียกกาย บางซื่อ กรุงเทพ ฯ ) มีชื่อเรียกในขณะนั้นว่า "โรงเรียนทหารม้า" มี พันโท พระประยุทธอริยั่น (เชื้อ โหตตระ) เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนท่านแรก ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดกองทัพบกขึ้นใหม่ ตามคำสั่งของกระทรวงกลาโหม ฉบับพิเศษ ลงวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2475 ให้มีการยุบกรมจเรทหารบก เสีย แล้วจัดตั้งเป็น

      กองบังคับการทหารราบ

      กองบังคับทหารม้า

      กองบังคับทหารปืนใหญ่

      กองบังคับทหารช่างสื่อสาร

      และให้มีการจัดตั้งกองพันของเหล่าต่างๆ ขึ้นตรงต่อหน่วยนั้นๆ พร้อมกับได้มีการย้ายที่ตั้งเดิมจากศาลากระทรวงกลาโหม ไปอยู่ที่ตำบลบางขุนพรหม เวลาต่อมากระทรวงกลาโหม ได้ออก คำสั่งพิเศษ ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2476 ให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดกองทัพบกเสียใหม่ โดยจัดตั้งกรมจเรทหารบกขึ้นใหม่ และมีการจัดส่วนราชการภายในโดยแบ่งออกเป็น 5 แผนก ได้แก่

      แผนกที่ 1 (ทหารราบ)

      แผนกที่ 2 (ทหารม้า)

      แผนกที่ 3 (ทหารปืนใหญ่)

      แผนกที่ 4 (ทหารช่าง)

      แผนกที่ 5 (ทหารสื่อสาร)

      และให้กองพันเหล่าต่าง ๆ โอนไปขึ้นกับ มณฑลทหารบก ส่วนแผนกที่ 2 (ทหารม้า) ได้ย้ายจากบางขุนพรหม ไปอยู่ที่ กองพยาบาลสัตว์ทหารบก ถนนเศรษฐศิริ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2482 (ปัจจุบันคือที่ตั้งของกรมยุทธศึกษาทหารบก) เวลาต่อมาในปี พ.ศ.2484 ได้เปลี่ยนการบังคับบัญชา โดยให้ไปขึ้นกับ กรมเสนาธิการทหารบก และให้เปลี่ยนชื่อเรียกใหม่เป็น " แผนกทหารม้า กรมเสนาธิการทหารบก " หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2488 กองทัพบกมีคำสั่งให้ยุบ แผนกทหารม้า และแผนกการสัตว์ทหารบก และเมื่อได้มีการโอนกิจการสัตว์พาหนะไปเป็น แผนกผสมสัตว์และเสบียงสัตว์ ขึ้นตรงกับกรมพลาธิการทหารบก แล้วจึงได้ชื่อเรียกใหม่เป็น " กรมจเรทหารม้า " เพียงอย่างเดียว (คำสั่งกองทัพบก ที่ 152/13254 ลงวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2491) หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2495 กองทัพบกได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อหน่วยทหารอีกครั้ง จากกรมจเรทหารม้า เป็น" กรมการทหารม้า"ตามคำสั่งกองทัพบก ที่ 105/13353 ลงวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.2495

      เวลาต่อมาเมื่อกองทัพบก โดยเฉพาะเหล่าทหารม้า ได้รับความช่วยเหลือด้านการทหารจากประเทศสหรัฐอเมริกา ในความตกลงร่วมกันโดยมีการลงนามในสัญญา ณ กระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2493 จากนั้นเป็นต้นมา เหล่าทหารม้า ก็เริ่มมีวิวัฒนาการมีการเพิ่มอัตราการจัดหน่วย ทั้งด้าน กำลังพล ยานพาหนะ และอาวุธยุทโธปกรณ์อื่น ๆ มากขึ้น โดยในขั้นแรกได้มีการรวมหน่วยระหว่าง กองพันทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ กับกรมรถรบ กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ อีกทั้งให้มีการจัดตั้ง กรมทหารม้าที่ 2 และโรงเรียนยานเกราะ ขึ้นเมื่อ 1 เมษายน พ.ศ.2495 ในส่วนของ "โรงเรียนยานเกราะ" ได้ทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการขึ้น เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2495 (เวลา 09.15 น.) และในวันเดียวกันนี้ ได้มีการเปิดการศึกษาหลักสูตร ผบ.ร้อย มีนายทหารนักเรียนทั้งสิ้น 62 นาย นับเป็นนายทหารนักเรียนรุ่นแรกของโรงเรียนยานเกราะก็ว่าได้

      ต่อมาในวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2499 กระทรวงกลาโหม ได้ออกคำสั่งเฉพาะ ที่ 42/12128 โดยให้ โอนโรงเรียนยานเกราะของกองพลน้อยทหารม้า ไปขึ้นกับ " ศูนย์การทหารม้า " ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2499 เป็นต้นไป แต่ที่ตั้งของโรงเรียนยานเกราะ ยังคงให้อยู่ ณ ที่เดิม

      ในปี พ.ศ.2496 เมื่อศูนย์การทหารม้า ได้ย้ายที่ตั้งจากกรุงเทพมหานคร มาเข้าที่ตั้งแห่งใหม่ ณ ตำบลปากเพรียว อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ก็ให้ทำการโยกย้ายโรงเรียนยานเกราะ จากเดิม กรุงเทพ ฯ มาเข้าที่ตั้งที่จังหวัดสระบุรี รวมกับโรงเรียนทหารม้า (ขี่ม้า) กลายเป็น " โรงเรียนทหารม้า " และมีที่ตั้งอยู่ภายใน ค่ายอดิศร ตำบลปากเพรียว อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี จนถึงปัจจุบันนี้

    7. ชื่อหัวหน้าหน่วย
    8. พล.ต.เริงยุทธ พรหโมบล

    9. ชื่อคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา
    10. 1. ผบ.ศม. ประธานกรรมการ

      2. รอง ผบ.ศม. (1 ) รองประธานกรรมการ (1 )

      3. รอง ผบ.ศม. ( 2 ) รองประธานกรรมการ ( 2 )

      4. รอง ผบ.รร.ม.ศม. รองประธานกรรมการ ( 3 )

      5. เสธ.ศม. กรรมการ

      6. ผอ.กวก.ศม. กรรมการ

      7. ผอ.กศ.รร.ม.ศม. กรรมการ

      8. ผบ.กรม นร.รร.ม.ศม. กรรมการ

      9. หก.กกพ.ศม. กรรมการ

      10. หก.กกบ.ศม. กรรมการ

      11. รอง เสธ.ศม. กรรมการ/เลขานุการ

      12. หก.กยข.ศม. กรรมการ/ผช.เลขานุการ

      13. หน.เตรียมการ รร.ม.ศม. กรรมการ/ผช.เลขานุการ

      ชื่อเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา

      1. หน.เตรียมการ รร.ม.ศม. หัวหน้าสำนักงาน

      2. ประจำแผนกเตรียมการ รร.ม.ศม. รองหัวหน้าสำนักงาน/หัวหน้าฝ่ายวิชาการ

      3. ประจำแผนกเตรียมการ รร.ม.ศม. เลขานุการ/หัวหน้าฝ่ายธุรการ

      4. เสมียนแผนกเตรียมการ รร.ม.ศม. เสมียนประจำสำนักงาน

    11. ภารกิจ
    12. 1.6.1 ภารกิจของ รร.ม.ศม. มีหน้าที่

        1. วางแผนอำนวยการและดำเนินการฝึกศึกษาให้กับกำลังพลของเหล่าทหารม้า และเหล่าอื่น ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก
        2. ศึกษา วิจัย และพัฒนา เกี่ยวกับหลักนิยม ยุทธวิธี และเทคนิคของเหล่าทหารม้า ร่วมกับกองวิทยาการ และส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง
        3. ผลิตนายทหารชั้นประทวนของเหล่าทหารม้า และกำลังพลประเภทอื่นตามที่ได้รับมอบภายในขอบเขตของขีดความสามารถ
        4. ปกครองบังคับบัญชาผู้เข้ารับการศึกษา
        5. บันทึกและรายงาน สถิติ ผลงานตามหน้าที่

1.6.2 การแบ่งมอบ เป็นส่วนการศึกษาขึ้นตรงต่อ กรมยุทธศึกษาทหารบก (ยศ.ทบ.)

1.6.3 ปรัชญาของ รร.ม.ศม. “ โรงเรียนทหารม้า ตั้งอยู่บนพื้นฐานของศักดิ์และศรี และเกียรติภูมิของความเป็นเหล่านักรบผู้กล้าหาญ มุ่งเสริมสร้างและพัฒนาความรู้ ความสามารถ ให้กับกำลังพล ควบคู่กับการปลูกฝังความเป็นสุภาพบุรุษและผู้นำที่ดีมีคุณธรรม ”

1.6.4 การจัด รร.ม.ศม. มีการจัดหน่วยตามอัตราเฉพาะกิจ (อฉก.)หมายเลข 4120 (28 ธ.ค.26) เป็นหน่วยขึ้นตรงของศูนย์การทหารม้า ประกอบด้วย ส่วนราชการ 3 หน่วย ได้แก่

1.6.4.1 กองบัญชาการ (บก.รร.ม.ศม.) ประกอบด้วย ส่วนราชการ 4 หน่วย ได้แก่

1.6.4.1.1 แผนกธุรการและกำลังพล มีหน้าที่

1.6.4.1.1.1 ดำเนินการธุรการทั้งปวง รวมทั้งงานกำลังพล งานสาร

บรรณการเงินและการสวัสดิการของโรงเรียนทหารม้า

1.6.4.1.1.2 บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

1.6.4.1.2 แผนกเตรียมการ มีหน้าที่

1.6.4.1.2.1 ดำเนินการงานเกี่ยวกับแผนการศึกษา ตลอดจน

กำหนดความต้องการเพื่อสนับสนุนการศึกษา

1.6.4.1.2.2 ประสานกับหน่วยและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในเรื่อง

การจัดทำหลักสูตรการศึกษา

1.64.1.2.3 กำหนดตารางฝึกสอนวิชาต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแผน

การศึกษาที่ได้รับอนุมัติ

1.6.4.1.2.4 ประสานกับหน่วยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในเรื่องกำหนด

การใช้ห้องเรียน สนามฝึกอาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด

เครื่องช่วยฝึก ตลอดจนบริการขนส่งและสิ่งอำนวย

ความสะดวกอื่น ๆ ที่ต้องใช้ในการศึกษา ในหลักสูตร

ต่าง ๆ และดำเนินการจ่าย ค่าสอน สำหรับ อาจารย์

ครู ตามสิทธิ

1.6.4.1.2.5 ประสานกับกองการศึกษาในเรื่อง อาจารย์ ครู ที่จะทำ

การสอน หรือบรรยาย

1.6.4.1.2.6 ดำเนินการเกี่ยวกับงบประมาณการฝึกศึกษาของ

โรงเรียนทหารม้า

1.6.4.1.2.7 ดำเนินกรรมวิธีเกี่ยวกับการเปิด-ปิดการศึกษาหลักสูตร

ต่าง ๆ

1.6.4.1.2.8 บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

1.6.4.1.3 แผนกสนับสนุนการศึกษา มีหน้าที่

1.6.4.1.3.1 สนับสนุนในเรื่องเครื่องช่วยฝึก และสิ่งอำนวยความ

สะดวกอื่น ๆ เพื่อการศึกษา

1.6.4.1.3.2 ดำเนินการพิมพ์ตำรา แผนบทเรียน และเอกสารที่

เกี่ยวข้องกับการฝึกศึกษาของ โรงเรียนทหารม้า

1.6.4.1.3.3 เก็บรักษา และแจกจ่ายพัสดุเครื่องใช้ และสิ่งอุปกรณ์

ของโรงเรียนทหารม้า

1.6.4.1.3.4 ให้การสนับสนุนโรงเรียนทหารม้า เกี่ยวกับการส่งกำลัง

บำรุง และการบริการอื่น ๆ

1.6.4.1.3.5 บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

1.6.4.1.4 แผนกประเมินผลและสถิติ มีหน้าที่

1.6.4.1.4.1 จัดทำประวัติและทำเนียบของผู้ผ่านการศึกษาจาก

โรงเรียนทหารม้า

1.6.4.1.4.2 ดำเนินการเกี่ยวกับสถิติการศึกษา

1.6.4.1.4.3 ดำเนินงานประเมินผลการศึกษาทุกหลักสูตร และเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการศึกษา

1.6.4.1.4.4 ดำเนินงานออกประกาศนียบัตรหรือใบรับรองผลการ

ศึกษา

1.6.4.1.4.5 ติดตามการปฏิบัติงานของผู้ผ่านการศึกษาจากโรงเรียน

ทหารม้า นำมาประเมินผลและเสนอแนะเพื่อพัฒนา

การศึกษา

1.6.4.1.4.6 บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

1.6.4.2 กองการศึกษา (กศ.รร.ม.ศม.) ประกอบด้วย ส่วนราชการ 10 หน่วย ได้แก่

1.6.4.2.1 กองบังคับการกองการศึกษา

1.6.4.2.2 แผนกวิชายุทธวิธี

1.6.4.2.3 แผนกวิชาฝ่ายอำนวยการ

1.6.4.2.4 แผนกวิชาทั่วไป

1.6.4.2.5 แผนกวิชายานยนต์

1.6.4.2.6 แผนกวิชาอาวุธ

1.6.4.2.7 แผนกวิชาสื่อสาร

1.6.4.2.8 แผนกวิชาหลักยิงและตรวจการณ์

1.6.4.2.9 แผนกวิชาการขี่ม้า

1.6.4.2.10 แผนกวิชาการรบพิเศษ

กองการศึกษา มีหน้าที่

1. ดำเนินการให้การฝึกและศึกษาแก่นักเรียนในหลักสูตรต่างๆ ของ

โรงเรียนทหารม้า

2. จัดครูและอาจารย์ไปทำการสอนวิชาทหารม้าให้กับโรงเรียนทหารอื่น ๆ

ตามที่ได้รับมอบ

3. ดำเนินการให้การศึกษา และปรับปรุงความรู้แก่ผู้ที่จะทำหน้าที่ อาจารย์

และครู ในโรงเรียนทหารม้า

4. พิจารณาเสนอความต้องการในการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยายใน

โรงเรียนทหารม้า

5. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

1.6.4.3 กรมนักเรียน (กรม นร.รร.ม.ศม.) ประกอบด้วย ส่วนราชการ 6 หน่วย ได้แก่

1.6.4.3.1 กองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการ

1.6.4.3.2 กองร้อยบริการ

1.6.4.3.3 กองพันนักเรียน

1.6.4.3.4 กองพันนักเรียนนายสิบ

1.6.4.3.5 กองพันนักเรียนการรบพิเศษ

1.6.4.3.6 หมวดเสนารักษ์

กรมนักเรียน มีหน้าที่

1. ปกครองบังคับบัญชานายทหารนักเรียน นายสิบนักเรียน และนักเรียนนายสิบ

2. ดำเนินกรรมวิธีและอำนวยความสะดวกแก่นายทหาร นายสิบ ที่เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนทหารม้า

3. ดำเนินการทางธุรการ การสวัสดิการ การเงิน ที่พัก และการเลี้ยงดู

4. สนับสนุนการฝึกของโรงเรียนทหารม้า

5. ดูแลรักษา และดำเนินการระวังป้องกัน อาคาร สถานที่ คลังอาวุธ คลังกระสุนของโรงเรียนทหารม้า

6. บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่

 

 

 

 

 

 

 

 

1.7 โครงสร้างการบริหาร

      1. ผังการจัดหน่วยงาน (Organization Chart )






 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.7.2 ผังสายการบังคับบัญชา Administration Chart

 

 

 


















 

 

1.7.3 ผังการปฏิบัติงาน Activity Chart

( หลักสูตรการศึกษาประจำปีงบประมาณ 2545 )

ลำดับ

หลักสูตร

จำนวน

ห้วงระยะเวลา

จำนวนผู้เข้า

สัปดาห์

การศึกษา

รับการศึกษา

1

นนส.2 ปี (ปวส.) รุ่นที่ 4/43

52

1 ต.ค.44 - 30 เม.ย.45

200

2

นนส.ทบ.รุ่นที่ 5/44

52

1 พ.ค. - 30 พ.ย.45

204

3

นายสิบชั้นต้น รุ่นที่ 1

8

10 ต.ค. - 4 ธ.ค.44

52

4

นายสิบกำลังพลและส่งกำลัง

10

18 ต.ค. - 26 ธ.ค.44

40

5

นายสิบอาวุโส รุ่นที่ 1

12

18 ธ.ค.44 – 11 มี.ค.45

62

6

นายสิบยุทธการและการข่าว

12

8 ม.ค.45 - 1 เม.ย.45

30

7

ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง

8

9 ม.ค.45 - 5 มี.ค.45

20

8

ช่างซ่อมบำรุงอาวุธประจำหน่วย

8

16 ม.ค.45 - 12 มี.ค.45

30

9

นายสิบยานยนต์

8

14 ก.พ.45 - 10 เม.ย.45

40

10

ปฐมนิเทศนายทหารใหม่

4

19 ก.พ.45 - 19 มี.ค.45

20

11

ชั้นนายร้อย

13

21 มี.ค.45 - 26 มิ.ย.45

62

12

ช่างซ่อมบำรุงยานยนต์ประจำหน่วย

15

19 เม.ย.45 - 1 ส.ค.45

40

13

นายสิบอาวุโส รุ่นที่ 2

12

30 เม.ย.45 - 22 ก.ค.45

60

14

การใช้ ค.เหล่า ม.

12

1 พ.ค.45 - 23 ก.ค.45

30

15

ชั้นนายพัน

17

10 พ.ค.45 - 4 ก.ย.45

62

16

นายสิบชั้นต้น รุ่นที่ 2

8

13 มิ.ย.45 - 7 ส.ค.45

50

17

นายสิบอาวุโส รุ่นที่ 3

12

25 มิ.ย.45 - 16 ก.ย.45

60

18

พลประจำรถกู้และช่างเชื่อม

8

16 ก.ค.45 – 9 ก.ย.45

40

19

TACOS รุ่นที่ 1/45

2

5 - 18 ต.ค.44

21

20

TACOS รุ่นที่ 2/45

2

8 – 21 พ.ย. 44

21

21

TACOS รุ่นที่ 3/45

2

13 – 26 ธ.ค. 44

21

22

TACOS รุ่นที่ 4/45

2

21 มี.ค. 45 – 3 เม.ย.45

21

23

TACOS รุ่นที่ 5/45

2

6 – 19 มี.ค. 45

21

24

TACOS รุ่นที่ 6/45

2

7 – 20 พ.ค. 45

21

25

TACOS รุ่นที่ 7/45

2

15 – 28 ส.ค. 45

21

26

TACOS รุ่นที่ 8/45

2

5 – 18 ก.ย. 45

21

27

การจัดสาธิต , การบรรยาย และการชมกิจการ

1 ต.ค. 44 – 30 ก.ย.45

2. การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

วัน/เดือน/ปี

กิจกรรม

หมายเหตุ


ต.ค.42

 

ต.ค.42

 

 

 

ก.พ.43

 

เม.ย.43

 

 

 

 

เม.ย.43

มิ.ย.43

 

 

 

 

มี.ค.44

แต่งตั้งคณะทำงานบริหารงานคุณภาพ

(คำสั่ง ศม.ที่ 449/2542 ลง 7 ต.ค.42)

- พ.อ.เริงยุทธ พรหโมบล รอง ผบ.ศม. ประธานคณะทำงาน

29 ต.ค.42 การบรรยายระบบการบริหารงานคุณภาพ

โดย คุณเพ็ญจันทร์ แสนประสาน ผู้ตรวจการ ระดับ 8 รพ.จุฬาลงกรณ์

สถานที่ ห้องประชุม 2 บก.ศม. หัวข้อการบรรยาย

- การบริหารคุณภาพแบบเล็ดเสร็จ TQM

- การบริหารคุณภาพ ISO

13 – 14 ก.พ.43 การเยี่ยมชมและศึกษาดูงาน มหาวิทยาลัยนเรศวร

- คณะเยี่ยมชม , ให้ข้อเสนอแนะ จัดตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการ ศึกษา รร.ม.ศม. โดยมี รอง ผบ.รร.ม.ศม. เป็นประธานกรรมการ

10 – 11 เม.ย.43 การประชุมทางวิชาการ เรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาของกองทัพ ณ ห้องประชุม วปอ.สปท.บก.ทหารสูงสุด

- พ.อ.เริงยุทธ พรหโมบล

- พ.อ.ดนัยพัฒน์ เกษมนิรันดร์

- พ.อ.อนุรุธ อุภัยชีวะ

- พ.ต.สุริยัน นวลชื่น

แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของ รร.ม.ศม.

( คำสั่ง ศม. ที่ 143/2543 ลง 11 เม.ย.43 )

13 – 14 มิ.ย.43 การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษาของกองทัพบก

- พ.อ.ดนัยพัฒน์ เกษมนิรันดร์ การประกันคุณภาพการศึกษา ของสถาบันกองทัพ ( ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี )

- พ.อ.อนุรุธ อุภัยชีวะ แนวทางการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของ สถาบันการศึกษาของกองทัพ (ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี )

19 – 21 มี.ค.44 การสัมมนาทางวิชาการของ ยศ.ทบ. การปรับปรุงและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา แผนบทเรียน และสื่อการเรียนการสอน รร.ทบ.

- พ.อ.ดนัยพัฒน์ เกษมนิรันดร์ การประกันคุณภาพการศึกษา

- พ.อ.อนุรุธ อุภัยชีวะ แผนบทเรียนและสื่อการเรียนการสอน

 

วัน/เดือน/ปี

กิจกรรม

หมายเหตุ

มิ.ย.44

 

มิ.ย.44

ก.ค.44

ส.ค.44

ส.ค.44

ก.พ.45

 

 

 

 

มี.ค.45

มี.ค.45

มิ.ย.45

แต่งตั้งคณะทำงาน การประกันคุณภาพการศึกษาของ รร.ม.ศม.

( คำสั่ง รร.ม.ศม. (เฉพาะ) ที่ 19/44 ลง 6 มิ.ย.44)

- ผอ.กศ.รร.ม.ศม. เป็นประธานคณะทำงาน

กศ.รร.ม.ศม. แต่งตั้งคณะทำงานและติดตามประเมินผล กิจกรรม 5 ส.

- พ.อ.พงศ์พันธุ์ สายทิพย์วดี หัวหน้าคณะทำงาน

กศ.รร.ม.ศม. จัดให้มีการบรรยายเกี่ยวกับกิจกรรม 5 ส. โดยเชิญวิทยากรจาก รพ.เกษมราษฎร์

กศ.รร.ม.ศม.นำกำลังพล เข้าศึกษาดูงาน และฟังการบรรยายสรุป เกี่ยวกับการดำเนินงานกิจกรรม 5 ส. ณ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย (แก่งคอย ) จำกัด

กศ.รร.ม.ศม. นำคณะอาจารย์ไปดูงาน เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาที่ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กทม.

22 – 28 ก.พ.45 สถาบันวิชาป้องกันประเทศ กองบัญชาการทหารสุงสุด จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาระบบการศึกษาของ กห. ณ โรงแรมมิราเดลแกรนด์

- พ.อ.สืบพงศ์ เปาวรัตน์

- พ.อ.นพดล พิศวง

- พ.อ.อัครเดช ไตรศักดิ์ศรี

กศ.รร.ม.ศม. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง

- พ.อ.อนุรุธ อุภัยชีวะ หัวหน้าคณะทำงาน

รร.ม.ศม. โดยคณะทำงานประกันคุณภาพการศึกษา รร.ม.ศม. ได้จัดทำแผนการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาส่งให้ ยศ.ทบ.

ยศ.ทหาร จะจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการผู้ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของกองทัพ ระยะเวลา 7 วัน

- พ.อ.อนุรุธ อุภัยชีวะ

- พ.อ.อัครเดช ไตรศักดิ์ศรี

- พ.ท.รุ่งโรจน์ ถุงเป้า

- พ.ท.พิภพ เมฆา

- พ.ท.สายัญ พิมพาเรือ

 

 

 

วัน/เดือน/ปี

กิจกรรม

หมายเหตุ

ก.ค.45

 

 

ธ.ค.45

 

 

 

พ.ค.46

22 – 23 ก.ค.45 สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง วิสัยทัศน์กองทัพไทย ณ ห้องประชุม สถาบันวิจัยทางยุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กทม.

- พ.อ.สืบพงศ์ เปาวรัตน์

24 – 26 ธ.ค.45 สัมมนาทางวิชาการเรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาของ รร.ทหารบก ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จว.พระนครศรีอยุธยา

- พ.อ.วันชาติ ผลไพบูลย์

- พ.ท.ศักรินทร์ ทองท้วม

- พ.ท.รุ่งโรจน์ ถุงเป้า

20 – 22 พ.ค.46 สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การปฏิรูปการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาของกองทัพ ณ ยศ.ทหาร

- พ.ท.มนัส บุญมาก

 

 

3. การแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

3.1 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา รร.ม.ศม.

3.1.1 ผบ.ศม. ประธานกรรมการ

3.1.2 รอง ผบ.ศม. (1 ) รองประธานกรรมการ (1 )

3.1.3 รอง ผบ.ศม. ( 2 ) รองประธานกรรมการ ( 2 )

3.1.4 รอง ผบ.รร.ม.ศม. รองประธานกรรมการ ( 3 )

3.1.5 เสธ.ศม. กรรมการ

3.1.6 ผอ.กวก.ศม. กรรมการ

3.1.7 ผอ.กศ.รร.ม.ศม. กรรมการ

3.1.8 ผบ.กรม นร.รร.ม.ศม. กรรมการ

3.1.9 หก.กกพ.ศม. กรรมการ

3.1.10 หก.กกบ.ศม. กรรมการ

3.1.11 รอง เสธ.ศม. กรรมการ/เลขานุการ

3.1.12 หก.กยข.ศม. กรรมการ/ผช.เลขานุการ

3.1.13 หน.เตรียมการ รร.ม.ศม. กรรมการ/ผช.เลขานุการ

 

3.2 คณะอนุกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

3.2.1 รอง ผบ.รร.ม.ศม. เป็น ประธานอนุกรรมการ

3.2.2 ผอ.กศ.รร.ศม. เป็น รองประธานอนุกรรมการ(1)

3.2.3 ผบ กรม นร.รร.ม.ศม. เป็น รองประธานอนุกรรมการ(2)

3.2.4 รอง ผอ.กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.5 รอง ผบ.กรม นร.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.6 หน.ธุรการและกำลังพล รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.7 หน.ประเมินผลและสถิติ รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.8 หน.สนับสนุนการศึกษา รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.9 อจ.หน.วิชายุทธวิธี กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.10 อจ.หน.วิชาหลักยิงและตรวจการณ์ กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.11 อจ.หน.วิชาทั่วไป กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.12 อจ.หน.วิชาสื่อสาร กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.13 อจ.หน.วิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.14 อจ.หน.วิชาอาวุธ กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.15 อจ.หน.วิชาการขี่ม้า กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.16 อจ.หน.วิชาการรบพิเศษ กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.17 หน.สว.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.18 หก.กชฝ.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.19 หก.กบร.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.20 หน.ห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ กวก.ศม. เป็น อนุกรรมการ

3.2.21 หน.เตรียมการ รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ/เลขานุการ

3.2.22 อจ.หน.วิชาฝ่ายอำนวยการ กศ.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ/ผช.เลขานุการ

3.2.23 ฝอ.๓ กรม นร.รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ/ผช.เลขานุการ

3.2.24 หน.ส่วนแผน แผนกเตรียมการ รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ/ผช.เลขานุการ

3.2.25 หน.ส่วนเตรียมการ แผนกเตรียมการ รร.ม.ศม. เป็น อนุกรรมการ/ผช.เลขาฯ

 

 

 

 

 

4. การกำหนดนโยบายและหรือการกำหนดแผนการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา

ลำดับขั้น

การดำเนินงาน

เวลาการปฏิบัติ

ผู้รับผิดชอบ

ลักษณะงาน

หมายเหตุ

1.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กำหนดระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

    1. กำหนดนโยบาย ระบบคุณภาพ based on Vision.Mission.Goals
    2. แต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบด้านประกันคุณภาพการศึกษา
      1. คณะกรรมการ ประกันคุณภาพการศึกษา
      2. คณะอนุกรรมการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
      3. คณะทำงานประกันคุณภาพการศึกษา
      4. คณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
    3. โครงสร้างการบริหาร – ดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของ 1.2.1 - 1.2.4
    4. หน้าที่การรับผิดชอบสำหรับงานประกันคุณภาพการศึกษาของ 1.2.1 – 1.2.4
    5. ผู้รับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษา
    6. จัดทำคู่มือการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

จัดการอบรม

2.1 อบรมเชิงบรรยาย

2.1.1 แนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา

2.1.2 ตัวบ่งชี้คุณภาพ และเกณฑ์ตัดสิน (Pi-Criteria)

2.1.3 การทำพัฒนาสารสนเทศ/หลักฐานการทำงาน

      1. การวิเคราะห์จุดอ่อน-จุดแข็ง (S-W Analysis)
      2. รายงานการศึกษาตนเอง (Self-Study Report , SSR.)
      3. หลักการตรวจสอบ (audit) ประเมิน (assessment) คุณภาพการศึกษา

ปี 45 - 46

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะทำงานประกันคุณภาพการศึกษา

 

 

 

 

นโยบาย , การปฏิบัติ

 

ลำดับขั้น

การดำเนินงาน

เวลาการปฏิบัติ

ผู้รับผิดชอบ

ลักษณะงาน

หมายเหตุ

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
    2. 2.2.1 ทำ-พัฒนา ตัวบ่งชี้คุณภาพและเกณฑ์(Pi-Criteria)ระดับ รร.ม.ศม.

      2.2.2 ทำ-พัฒนา ตัวบ่งชี้คุณภาพและเกณฑ์(Pi-Criteria)ระดับ กอง/กรม

      2.2.3 ทำ-พัฒนา ตัวบ่งชี้คุณภาพและเกณฑ์(Pi-Criteria)ระดับ แผนก/กองพัน/หมวด

      1. ทำ-พัฒนา สารสนเทศ/หลักฐานการทำงาน ระดับ แผนก/กองพัน/หมวด
      2. ทำ-พัฒนา สารสนเทศ/หลักฐานการทำงาน ระดับ กอง/กรม
      3. ทำ-พัฒนา สารสนเทศ/หลักฐานการทำงาน ระดับ รร.ม.ศม.
      4. ทำ-พัฒนา รายงานการศึกษาตนเอง (SSR.)ระดับ แผนก/กองพัน/หมวด
      5. ทำ-พัฒนา รายงานการศึกษาตนเอง (SSR.)ระดับ กอง/กรม
      6. ทำ-พัฒนา รายงานการศึกษาตนเอง (SSR.)ระดับ รร.ม.ศม.
    3. การอบรมเชิงเสวนา (แสดงความคิดเห็น)
      1. เสวนา รายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ แผนก/กองพัน/หมวด
      2. เสวนา รายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ กอง/กรม
      3. เสวนา รายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ รร.ม.ศม.

2.4 การอบรมเชิงตรวจสอบ-วิเคราะห์ภายใน

      1. การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในระดับ แผนก/กองพัน/หมด
      2. การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในระดับ กอง/กรม
      3. การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในระดับ รร.ม.ศม.
 

คณะทำงานประกันคุณภาพ ฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะทำงานประกันคุณภาพ ฯ

 

 

 

 

คณะทำงานประกันคุณภาพ ฯและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพ ฯ

WORKSHOP

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

PRESENT

 

 

 

 

 

 

วิเคราะห์ SSR-VIST/

MEET

ผู้รับการอบรมจัดจากตัวแทนหน่วยต่าง ๆ ของแต่ละ หมวด กองพัน,แผนก,กรม,กอง,รร.ม.ศม.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กองพัน,แผนก,กรม,กอง , รร.ม.ศม.

ลำดับขั้น

การดำเนินงาน

เวลาการปฏิบัติ

ผู้รับผิดชอบ

ลักษณะงาน

หมายเหตุ

สรุปผลความคิดเห็นจากการอบรมครั้งที่ 1 (Feedback 1)

    1. การอบรมเชิงตรวจสอบ-วิเคราะห์ภายนอก
      1. การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับ แผนก/กองพัน/หมวด
      2. การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับ กอง/กรม
      3. การตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับ รร.ม.ศม.

      สรุปผลความคิดเห็นจากการอบรมครั้งที่ 2

      (Feedback 2)

    2. การอบรมวิธีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
      1. การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับ แผนก/กองพัน/หมวด
      2. การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับ กอง/กรม
      3. การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับ รร.ม.ศม.

      สรุปผลความคิดเห็นจากการอบรมครั้งที่ 3

      (Feedback 3)

    3. การอบรมวิธีการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายนอก
      1. การประเมินคุณภาพการศึกษา ภายนอกระดับ แผนก/กองพัน/หมวด
      2. การประเมินคุณภาพการศึกษา ภายนอกระดับ กอง/กรม
      3. การประเมินคุณภาพการศึกษา ภายนอกระดับ รร.ม.ศม.

สรุปผลความคิดเห็นจากการอบรมครั้งที่ 4

(Feedback 4)

2.8 นำบทสรุปจากการฝึกแสดงความคิดเห็นจากการอบรมครั้งที่ 1 – 4 จัดทำเป็นรายงานการศึกษาตัวอย่าง ระดับ หมวด/กองพัน/แผนก/กรม/กอง/รร.ม.ศม.

 

คณะทำงานฯ

คณะทำงานประกันคุณภาพ ฯและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพ ฯ

คณะทำงานฯ

คณะทำงานประกันคุณภาพ ฯและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพ ฯ

คณะทำงานฯ

คณะทำงานประกันคุณภาพ ฯและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพ ฯ

MEETING/NEWS/

REPORT

วิเคราะห์ SSR-VIST

 

 

 

MEETING/NEWS/

REPORT

วิเคราะห์ SSR-VIST

 

 

 

 

MEETING/NEWS/

REPORT

วิเคราะห์ SSR-VISTวิเคราะห์ SSR-VIST MEETING/NEWS/

REPORT

การนำเสนอในที่ประชุม

กองพัน,แผนก,กรม,กอง,รร.ม.ศม.

ลำดับขั้น

การดำเนินงาน

เวลาการปฏิบัติ

ผู้รับผิดชอบ

ลักษณะงาน

หมายเหตุ

3.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.

 

การปฏิบัติตามกระบวนการ การประกันคุณภาพการศึกษา

    1. การจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ หมวด
    2. การจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ กองพัน
    3. การจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ แผนก
    4. การจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ กรม
    5. การจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ กอง
    6. การจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง (SSR.) ระดับ รร.ม.ศม.

การประกันคุณภาพการศึกษา

นำผล SSR.ไปพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ACT) ตามขบวนการ

    1. Improvement based on
      1. Check Info
      2. Priority
      3. Constraints
    2. Benchmarking PI
    3. Change Management
      1. ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และทิศทางการพัฒนา
      2. การพัฒนาฐานข้อมูล-แผนเพื่อการประกัน พัฒนาคุณภาพการศึกษา
      3. Institutional Research (วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อคุณภาพ)
      4. HRD-อาจารย์ ตามองค์ประกอบคุณภาพ
      5. HRD-เจ้าหน้าที่ ตามองค์ประกอบคุณภาพ
      6. HRD-ผู้บริหาร ตามองค์ประกอบคุณภาพ
      7. JD-Organization Devoloprenent
  1. อื่น ๆ (External Quality Audit, External

Quality Assessment)

 

หัวหน้าหน่วยงาน ( ระดับแผนกขึ้นไป )

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการผู้รับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ

 

 

 

 

 

การปฏิบัติงานตามภารกิจหน่วย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

วิเคราะห์ SSR.

เป็นไปตามแผนงาน/โครงการประจำปีการศึกษา

หมายเหตุ : เริ่มจัดทำตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 จึงยังไม่มีข้อมูลเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2544

ส่วนที่ 2

ดัชนีและเกณฑ์การตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบ

ดัชนี

เกณฑ์การตรวจสอบ

  1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนงาน
  1. กำหนดปรัชญา ปณิธาน ภารกิจ และวัตถุประสงค์
  2.  

  3. แผนงาน
  4.  

     

     

     

  5. การประเมินแผนงาน / โครงการ
    1. มีการเขียนปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงค์ เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. มีการแจกจ่ายปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงค์ให้กำลังพลใน รร.ม.ศม.ทราบ
    1. งานสอดคล้องกับปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงค์
    2. คณะกรรมการดำเนินงานตามแผนที่กำหนด
    3. มีการแจกจ่ายแผนงานให้กำลังพลทราบ
    4. มีการแจกจ่ายคู่มือการปฏิบัติงาน
    1. มีการประเมินแผนงาน/โครงการที่กำหนด
    2. มีการนำแผนการและแผนงาน/โครงการมีใช้ปรับปรุงแผนงาน/โครงการครั้งต่อไป
  1. การจัดการเรียนการสอน

2.1 หลักสูตร

  1. กระบวนการบริหารหลักสูตร
  1. มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  2. มีโครงการร่างหลักสูตร
  3. มีแผนนโยบายและการพัฒนาหลักสูตร
  4. มีเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
  5. มีระบบข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับหลักสูตร
  6. มีการแนะแนวหลักสูตรให้กับอาจารย์ – ครู และผู้เข้ารับการศึกษา
  7. มีปฏิทินการศึกษา
  8. มีการแจกจ่ายคู่มือหลักสูตรให้กับอาจารย์-ครู และผู้เข้ารับการศึกษา
  9. มีการประเมินหลักสูตร โดยติดตามผลคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษาทุกรุ่น
  10. มีการนำผลประเมินมาปรับปรุงโครงสร้างของหลักสูตรเนื้อหารายวิชา

องค์ประกอบ

ดัชนี

เกณฑ์การตรวจสอบ

    1. อาจารย์ – ครู
    2.  

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

       

    3. กระบวนการเรียนการสอน
    4.  

       

       

       

       

    5. ผู้เข้ารับการศึกษา
  1. การพัฒนาอาจารย์ – ครู
  2.  

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

  3. ภาระงาน

 

 

  1. การเตรียมการสอน

 

 

2. การประเมินผลการสอน

 

 

  1. ระบบการคัดเลือกผู้เข้ารับการศึกษา
    1. มีระบบการสรรหา
      1. มีแผน/นโยบายในการสรรหา
      2. มีคณะกรรมการสรรหา
      3. มีการประเมินประสิทธิภาพของอาจารย์ – ครู
    2. มีระบบพัฒนาอาจารย์ – ครู
      1. มีแผนการพัฒนาอาจารย์ – ครู
      2. มีคณะกรรมการการดำเนินงานตาม แผนพัฒนาอาจารย์-ครู
      3. มีการประเมินแผนพัฒนาอาจารย์-ครู
    3. มีระบบการธรรมรงค์รักษาคุณภาพอาจารย์-ครู
      1. มีการพัฒนาขวัญ/กำลังใจของอาจารย์ –ครู
      2. มีการประเมินคุณภาพอาจารย์-ครู
    1. มีการกำหนดภารงานเป็นลายลักษณ์อักษร
    2. มีการรายงานผลการปฏิบัติทุก 1 เดือน
    3. มีอัตราส่วนอาจารย์-ครู กับผู้เข้ารับการศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนด
    1. มีแผนการสอนเป็นรายวิชา
    2. มีวิธีการสอนที่หลากหลาย
    3. มีการสอนเสริม
    4. มีตารางการจัดการเรียนการสอน
    1. มีการปฏิบัติตามแผน
    2. มีการประเมินการสอนจากอาจารย์-ครูและผู้เข้ารับการศึกษา
    3. มีการรายงานและปรับปรุงแก้ไข
    1. มีเกณฑ์มาตรฐานในการคัดเลือกที่ชัดเจน
    2. มีคณะกรรมการการคัดเลือก

1.3 มีการรายงานประเมินผลป้อนกลับ

องค์ประกอบ

ดัชนี

เกณฑ์การตรวจสอบ

 

 

 

 

 

 

2.5 การวัดและการประเมินผลการเรียน

 

 

 

 

 

 

 

 

2.6 ปัจจัยเกื้อหนุน

  1. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
  2.  

  3. การติดตามและการประเมินคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
  1. ระบบการวัดผลการเรียนการสอน
  2.  

     

  3. การประเมินผลการเรียน

 

 

 

 

  1. อาคารเรียน/ห้องเรียน
  2.  

  3. ห้องสมุด
  4.  

     

     

  5. สื่อการเรียนการสอน

 

 

4. แผนการพัฒนาปัจจัยเกื้อกูล

2.1 มีจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรมากกว่าร้อยละ 90

2.2 มีคุณลักษณะทางทหารที่พึงประสงค์

    1. มีแผนการประเมินการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา
    2. มีผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
    1. มีคณะกรรมการรับผิดชอบ
    2. มีวิธีการวัดผลการเรียนหลากหลาย
    3. กำหนดวิธีการตัดสินผลการศึกษาที่ชัดเจน
    4. พัฒนาวิธีการวัดผลและตัดสินผลอย่างชัดเจน
    1. กำหนดวิธีการตัดสินผลการประเมิน
    2. มีวิธีการแจ้งผลการประเมินให้ผู้เรียนทราบ
    3. มีการประเมินผลการเรียนตามสภาพความเป็นจริง
    4. มีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการศึกษา
    1. ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการอยู่ในสภาพใช้การได้
    2. มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน
    1. มีหนังสือตามเกณฑ์ที่กำหนด
    2. มีความหลากหลายของสื่อ
    3. มีความทันสมัย
    4. มีระบบการจัดการที่เหมาะสม
    5. มีการประเมินและรายงานผลการใช้บริการ
    1. มีความหลากหลาย
    2. มีความทันสมัย
    3. มีความพอเพียง
    4. มีการประเมินการใช้สื่อการเรียนการสอน

4.1 มีแผนการพัฒนา

4.2 มีคณะกรรมการดำเนินงาน

องค์ประกอบ

ดัชนี

เกณฑ์การตรวจสอบ

 

3. กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน

 

  1. แผนงาน/โครงการพัฒนาผู้เรียน
  2. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ ของผู้เรียน
  3. อาจารย์ที่ปรึกษา
  4. อาจารย์ปกครอง

4.3 มีการประเมินผลและนำผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

    1. มีแผนงานและโครงการ
    2. มีการนำผลการประเมินแผนงาน/โครงการมาปรับปรุงแผนงาน/โครงการในครั้งต่อไป

- มีการนำผลการประเมินกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนมาปรับปรุงแผนงาน/โครงการในครั้งต่อไป

- มีระบบและกลไกของอาจารย์ที่ปรึกษา

- มีระบบและกลไกของอาจารย์ปกครองมีการฝึกวิชาการทหาร

4. การบริการทางวิชาการแก่สังคม

  1. วัตถุประสงค์และแผนงานการบริหารทางวิชาการ
  2. การดำเนินงาน

- มีวัตถุประสงค์แผนงาน/โครงการ เพื่อให้

บริการวิชาการแก่สังคม

  1. มีการดำเนินงานบริการทางวิชาการที่สอดคล้องกับภารกิจ
  2. มีการประเมินผลการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
  1. ทรัพยากรการเรียนรู้

 

  1. วัตถุประสงค์และแผนงาน
  2. การดำเนินงาน

- มีการดำเนินงานเรื่องอาคารสถานที่และสิ่ง

อำนวยความสะดวก

  1. ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ
  2. มีการดำเนินการพัฒนาห้องเรียน
  1. การบริหารและการจัดการ

 

1. มีการบริหารงานและคนที่

เป็นระบบ

 

2. มีกลไกดำเนินงาน

    1. มีการสรรหาผู้บริการทุกระดับ
    2. มีการจัดทำ ORGANIZATION CHART
    3. มีการทำระบบข้อมูลบริหาร
    4. มีการกำหนดภาระงาน

2.1 มีคณะกรรมการสรรหาผู้บริหาร

2.2 มีการคิด Organization , Administration

Chart ทุกหน่วยงาน

    1. มีการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและตัดสินใจของสถาบัน

องค์ประกอบ

ดัชนี

เกณฑ์การตรวจสอบ

   
  • มีคณะกรรมการดำเนินงานด้านการบริหารคนและงาน
  • มีการหวังให้ประชาคมรับรู้เกี่ยวกับผลการประชุมคณะกรรมการของสถาบัน
  • มีการประชุม ครู/อาจารย์ ทั้งคณะ ทุก 2 เดือน
  • มีข่าวคณะประจำสัปดาห์แรกทุกคน
    1. การเงินและงบประมาณ

     

    1. มีการกำหนดการใช้เงินไว้ในแผนงานการเงินประจำปี ตามภารกิจของสถาบัน
    2. มีคณะกรรมการดูแลการวางแผนการเงิน และการประเมินแผนงานทุกปี
    3. มีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปีของผู้เรียน
    4. มีการแจ้งให้ประชาคมได้รับรู้เรื่องการใช้เงิน

    - มีแฟ้มงานการใช้เงินประจำปี

     

     

    - มีคณะกรรมการวางแผนการเงินและการ

    ประเมินแผนงาน

    - มีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปีของผู้

    เรียน

    - มีการแจ้งให้ประชาคมได้รับรู้เรื่องการใช้

    เงิน

    1. ระบบและกลไกประกันคุณภาพ

     

    1. มีการกำหนดคุณภาพของผลผลิตตามภารกิจของสถานบันอย่างเป็นระบบ
    2. มีคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 2 คณะ และมีเจ้าหน้าที่ QA 1 คน เพื่อทำงานนี้
    1. มีการจัดทำดัชนีเกณฑ์คู่มือดำเนินงานและการเขียน SSR.
      1. มีการกำหนดแผนคุณภาพของผลผลิต
      2. มีการวางแผนระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาบัน

    - มีคณะกรรมการประกันคุณภาพคณะ

    กรรมการตรวจสอบประกันคุณภาพและ

    เจ้าหน้าที่ประเมินคุณภาพ

    - มีคณะกรรมการจัดทำดัชนีเกณฑ์คู่มือ

    ดำเนินงานและการเขียน SSR.

     

     

     

    องค์ประกอบ

    ดัชนี

    เกณฑ์การตรวจสอบ

     
    1. มีการจัดทำฐานข้อมูลการทำงานรายบุคคล
    2. มีการประกันคุณภาพภายใน รร.ม.ศม.
    3. ประชาคมได้รับรู้การประกันคุณภาพของสถาบัน

    - มีการกำหนดภาระงานเป็นรายบุคคล

    - มีคู่มือการประกันคุณภาพภายใน

    - มีการจัดทำ CD – ROM และ WEB-SITE

    ของ รร.ม.ศม.

    หมายเหตุ : เริ่มจัดทำตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 จึงยังไม่มีข้อมูลเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2544

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

    ส่วนที่ 3

    ผลการดำเนินงานเป็นองค์ประกอบ

    1. องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดำเนินงาน

    รร.ม.ศม. มีการกำหนด ปรัชญา ปณิธาน เป็นลายลักษณ์อักษร และมีการแจกจ่ายให้คน ในองค์กรทราบ เพื่อกำหนด เป้าหมาย นโยบาย แผนงาน ระเบียบ และเงื่อนไขต่าง ๆ ในการทำงานให้สำเร็จตามภาระหน้าที่ และความมุ่งหมายของสถาบัน ( เอกสารหมายเลข 1.1 )

    2. องค์ประกอบที่ 2 การจัดการเรียนการสอน

    2.1 หลักสูตร

    ทบ.ได้อนุมัติหลักสูตรการศึกษาของ รร.ม.ศม.จำนวน 25 หลักสูตร(เอกสารหมายเลข2.1) และเพื่อให้หลักสูตรการศึกษามีความทันสมัยกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และหลักนิยมที่เปลี่ยนแปลงไป รร.ม.ศม. ได้จัดตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร รร.ม.ศม. (เอกสารหมายเลข 2.1) หลักสูตรการศึกษาที่ขออนุมัติเปิดแต่ละปี พิจารณาจากความต้องการของหน่วย และมีการกลั่นกรองจากสภาอาจารย์ และสภาโรงเรียนทหารม้า ปีงบประมาณ 2545 รร.ม.ศม.ได้รับอนุมัติให้เปิดการศึกษา จำนวน 26 หลักสูตร การบริหารหลักสูตรที่เปิดการศึกษา ดำเนินการตามระเบียบ รร.ม.ศม. ว่าด้วยการศึกษาใน รร.ม.ศม. พ.ศ.2543 (เอกสารหมายเลข 2.1 ) และระเบียบคำสั่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

    2.2 กำลังพล

    กำลังพลที่บรรจุใน รร.ม.ศม. บรรจุตามคุณวุฒิและความชำนาญการทางทหารที่ ทบ. กำหนด (เอกสารหมายเลข 2.2 ) ทุกคนมีประสบการณ์การทำงานในหน่วยทหารม้า

    การพัฒนากำลังพล ได้มีการกำหนดให้กำลังพล เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรของ รร.เหล่า ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์

    2.3 กระบวนการเรียนการสอน

    หน.ส่วนต่าง ๆ จัดทำแผนปฏิบัติงาน และผ่านการตรวจสอบจาก หน.เตรียมการ รร.ม.ศม. และอนุมัติโดย รอง ผบ.รร.ม.ศม. ( เอกสารหมายเลข 2.3) ซึ่งสนับสนุนให้อาจารย์ใช้วิธีการสอนที่เหมาะสม สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เนื้อหา และลักษณะผู้เข้ารับการศึกษา เน้นผู้เข้ารับการศึกษาเป็นสำคัญ โดยใช้วิธีการสอนแบบ บรรยาย สาธิต ปฏิบัติ การศึกษาเป็นคณะ หรือให้ผู้เข้ารับการศึกษาไปค้นคว้าด้วยตนเอง นอกจากตำรา เอกสาร แผ่นใส สไลด์ วีดีโอ POWER POINT แล้วผู้เข้ารับการศึกษาจะฝึกปฏิบัติกับเครื่องช่วยฝึกยิงปืนใหญ่ในวิชา หลักยิงอาวุธรถถังด้วยคอมพิวเตอร์ เครื่องช่วยฝึกยิงปืนใหญ่รถถังด้วยแสงเลเซอร์ และเครื่องช่วยฝึกพลประจำรถถัง แบบ TACOS ซึ่งเป็นเครื่องช่วยฝึกเทคโนโลยีสูง การประเมินผลของแผนกเตรียมการ ฯ ตามแบบประเมินผลของ รร.ม.ศม. ตามหัวข้อที่กำหนด

     

    2.4 ผู้เข้ารับการศึกษา

    รร.ม.ศม. มีระบบการคัดเลือกผู้ที่จะเข้ารับการศึกษา และมีเกณฑ์มาตรฐานในการคัดเลือกที่ชัดเจน เพื่อให้ได้คุณสมบัติของผู้เข้ารับการศึกษา ตามจำนวนในหลักสูตร และสำเร็จจากการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และยังมีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษา เพื่อมาปรับปรุงในการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (เอกสารหมายเลข 2.4 )

    2.5 การวัดผลและประเมินผล

    การวัดผลและประเมินผลการศึกษา ดำเนินการตามระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการประเมินผลการศึกษาในโรงเรียนทหารบก พ.ศ. 2542 โดยคณะกรรมการวัดผลและประเมินผลการศึกษาของ รร.ม.ศม. การพิจารณาตัดสินผลการศึกษาต้องได้คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00 และมีเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 หลักสูตรการศึกษาของ รร.ม.ศม. ส่วนใหญ่ วัดผลการศึกษาโดยใช้ระบบหน่วยกิต เว้นหลักสูตร การใช้เครื่องยิงลูกระเบิด เหล่าทหารม้า , หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง ผู้เข้ารับการศึกษาจะต้องมีผลการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงจะถือว่าสำเร็จ ทั้งนี้ เนื่องจากผลการปฏิบัติการยิงอาวุธรถถัง และเครื่องยิงลูกระเบิด มีผลต่อความสำเร็จของหน่วยแต่ละรายวิชามีการประกาศผลให้ผู้เข้ารับการศึกษาทราบ บันทึกผลลงในใบระเบียนแสดงผลการศึกษา และแจ้งให้หน่วยต้นสังกัดทราบ ( เอกสารหมายเลข 2.5 ) หากผลการเรียนของผู้เข้ารับการศึกษาคนใดไม่ผ่านตามเกณฑ์ ให้สอบแก้ตัวได้ 2 ครั้ง การวัดผลและประเมินผลทุกหลักสูตร รายงานให้ ยศ.ทบ.ทราบ ( เอกสารหมายเลข 2.5 )

    2.6 ปัจจัยเกื้อหนุน

    รร.ม.ศม. มีการใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมโยงระบบอินเตอร์เน็ต และเครื่องฉายภาพนิ่ง

    ข้ามศรีษะ และกระดานดำสำหรับเขียนการวางแผนในการปฏิบัติงาน โดยมีการกำหนดการใช้อยู่ในรูปปฏิทินการศึกษา และงบประมาณ

    3. องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

    รร.ม.ศม. มีแผนการพัฒนาผู้เรียนในแต่ละหลักสูตร ให้เกิดทักษะ ความชำนาญ ในยุทโธปกรณ์ และเครื่องช่วยฝึก ด้วยการให้ผู้เข้ารับการศึกษาได้ฝึก และปฏิบัติจริง ตามลักษณะงานของแต่ละหลักสูตร โดยการออกเป็นแผนการฝึก – ศึกษา เป็นลายลักษณ์อักษร (เอกสารหมายเลข 3.1) มีการจัดดูงาน เพิ่มทักษะให้เกิดภาพจริงจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในเหล่าทหารม้า และหน่วยงานอื่น ๆ โดยออกเป็นแผนการปฏิบัติล่วงหน้าของแต่ละหลักสูตร ( เอกสารหมายเลข 3.2)

    4. องค์ประกอบที่ 4 การบริการทางวิชาการแก่สังคม

    รร.ม.ศม. บริการวิชาการแก่สังคม โดยให้แผนกวิชาการรบพิเศษ กศ.รร.ม.ศม.และ พัน.นพศ.กรม นร.รร.ม.ศม.จัดวิทยากรสนับสนุนการฝึก ลูกเสือ–เนตรนารี ให้กับโรงเรียนต่าง ๆ การฝึกอบรม ผู้นำเยาวชนต้านภัยยาเสพติด แผนกวิชาการขี่ม้า กศ.รร.ม.ศม. และแผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม.

    จัดวิทยากรบรรยายการเข้าเยี่ยมชมของนักเรียน เกี่ยวกับวิชาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน (เอกสารหมายเลข 4.2)

    5. องค์ประกอบที่ 5 ทรัพยากรการเรียนรู้

    รร.ม.ศม. ได้ดำเนินงานเรื่อง อาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อพัฒนาห้องเรียนให้มีความทันสมัย และยังได้จัดห้องสมุดไว้ในพื้นที่ เพื่อให้หลักสูตร นทน. และ นสน. ค้นคว้า หาความรู้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว จัดให้มีระบบค้นหาข้อมูลโดยใช้ INTERNET ให้กับแผนกวิชา กศ.รร.ม.ศม. เพื่อให้ครู/อาจารย์ และผู้เรียนได้ค้นหาความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว พร้อมกับติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน เพื่อให้ได้เกิดประโยชน์ และสะดวกต่อการประสานการปฏิบัติ (เอกสารหมายเลข 5.1)

    6. องค์ประกอบที่ 6 การบริหารและการจัดการ

    1. โครงสร้างบริหาร

    การจัด รร.ม.ศม. ( Organization Chart ) เป็นไปตามอนุมัติจาก ทบ. อฉก.4120 โครงสร้างการบริหาร(Administrative Chart )สอดคล้องกับการจัดหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ มีการกำหนดไว้ในระเบียบโรงเรียนทหารม้า และ รปจ.ของ โรงเรียนทหารม้า (เอกสารหมายเลข 6.1)

    6.2 การมีส่วนร่วมของบุคลากร

    รร.ม.ศม. กำหนดให้มีการประชุมตามปกติ เดือนละ 1 ครั้ง โดยมี ผบ.รร.ม.ศม.เป็นประธาน และมีกำลังพลทุกแผนก เข้าร่วมประชุม เพื่อรับทราบปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะ ในการปฏิบัติงานรวมทุกด้าน (เอกสารหมายเลข 6.1)

    6.3 บุคลากร

    รร.ม.ศม. ได้จัดส่งบุคลากรเข้ารับการศึกษาและอบรมต่าง ๆ ตามที่ได้รับแบ่งที่นั่ง เพื่อให้บุคลากรได้รับการเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรใน ภารกิจทุกด้าน รวมทั้งด้านบุคลิกภาพ วินัย โดยใช้แบบประเมินค่าการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นแบบฟอร์มที่ใช้ใน ทบ. เพื่อนำผลการประเมินไปประกอบการพิจารณาเลื่อนชั้นเงินเดือน ชั้นยศ และปรับย้าย

  • องค์ประกอบที่ 7 การเงินและงบประมาณ
  • รร.ม.ศม. ได้มีการวางแผนการใช้เงินและงบประมาณประจำปี โดยเริ่มจากการประชุมสภาคณาจารย์ เพื่อเปิดหลักสูตรการศึกษาของรร.ม.ศม.และเสนอต่อสภาโรงเรียนทหารม้า (เอกสาร หมายเลข 7.1 ) จากนั้น เสนอต่อ ยศ.ทบ. ตามลำดับ ( เอกสารหมายเลข 7.2) เพื่อกำหนดงบประมาณตามแถลงหลักสูตร ของแต่ละโรงเรียนเหล่า

  • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
  • รร.ม.ศม. ได้วางแผนและดำเนินงานตามคู่มือประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งได้มีการบริหาร จัดการ เพื่อจัดทำร่างของปีงบประมาณ 2546 – 2547 และได้แจกให้ทุกคนรับรู้ (เอกสารหมายเลข 8.1) และได้เตรียมการดำเนินงานด้านประกันภายในปี 2546 โดยมีการตรวจเยี่ยม เพื่อหาจุดอ่อน–จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขต่อไป ซึ่งในปี 2548 จะพร้อมรับตรวจสอบภายนอก (เอกสารหมายเลข 8.3)

    หมายเหตุ : เริ่มจัดทำตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 จึงยังไม่มีข้อมูลเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2544

    ส่วนที่ 4

    จุดอ่อน-แนวทางแก้ไข และจุดแข็ง-แนวทางเสริม

    องค์ประกอบที่ 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนงาน

    จุดอ่อน 1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กรมีน้อย

    จุดแข็ง 1. มีการกำหนดปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนงานเป็นลายลักษณ์

    อักษร

    2. มีการจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่ในรูปหนังสือเวียนทราบให้กำลังพลได้

    ทราบ

    แนวทางแก้ไข 1. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดูแลและชี้แจงการปฏิบัติ

    2. เพิ่ม กระจายการประชาสัมพันธ์ ปรัชญา ปณิธาน ทางการศึกษาให้กำลัง

    พลเห็นความสำคัญ

    3. มีการแบ่งมอบหน้าที่ให้ชัดเจน

    องค์ประกอบที่ 2. การจัดการเรียนการสอน

    จุดอ่อน 1. การพัฒนาหลักสูตร การประเมินหลักสูตรขาดประสิทธิภาพและไม่ทัน

    ต่อการเปลี่ยนแปลง

    2. ยังไม่มีการกำหนดแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร

    3. ไม่มีระบบการสรรหา พัฒนา และธำรงรักษา อาจารย์-ครูไว้อย่างชัดเจน

    4. คุณวุฒิอาจารย์-ครูไม่เป็นไปตามที่กำหนด (ไม่สามารถคัดเลือกอาจารย์

    ครูได้ อาจารย์ฝ่ายเทคนิคส่วนมากฝึกฝนจากประสบการณ์

    5. อัตราส่วนอาจารย์-ครู ต่อผู้เข้าร่วมรับการศึกษาในหลักสูตรยังไม่ได้

    เกณฑ์มาตราฐานกองทัพบก

    6. สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศที่ใช้ในการเรียนการสอนยังไม่เพียงพอและไม่

    ทันสมัย

    7. การจัดผู้เข้ารับการศึกษาในแต่ละหลักสูตร ไม่เป็นไปตามลักษณะสาย

    งานหรือลักษณะงาน

    8. การวางแผนพัฒนาอาคารเรียน ยังไม่มีแผนพัฒนาที่ชัดเจน และได้ระบบ

    มาตรฐาน

    จุดเข็ง 1. มีคณะกรรมการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร การเรียนการสอนอย่างชัดเจน

    2. มีการจัดทำแผนการสอนรายวิชา ของแต่ละหลักสูตรอย่างชัดเจน

     

    แนวทางแก้ไข 1. การพัฒนาหลักสูตรควรจะให้มีการประเมินค่า เพื่อนำผลมาปรับปรุง

    พัฒนาให้เป็นแนวทางที่ชัดเจน และทันต่อการเปลี่ยนแปลง

    2. ระบบการสรรหาอาจารย์-ครูควรจะมีการสร้างระบบ การหมุนเวียน

    อาจารย์-ครู โดยก่อนบรรจุเป็นอาจารย์-ครู ควรจะต้องผ่านการตรวจสอบ

    ทั้งในด้านความรู้ ความสามารถ และวิชาการถ่ายทอดความรู้ จากคณะ-

    กรรมการบริหารหลักสูตร

    3. ระบบสวัสดิการของอาจารย์-ครู ควรมีเงินประจำตำแหน่งนักวิชาการ

    หรือเงินประเภทอื่นๆ เพื่อจูงใจในการรับราชการในตำแหน่งอาจารย์-ครู

    4. การวัดผลและประเมินผล ควรจะทำให้ได้ตามเกณฑ์มาตราฐานที่กำหนด

    ไว้และเมื่อการสอบไม่ผ่านควรให้มีการสอบซ่อม หรือทำการสอนเสริม

    ให้กับนักเรียน

    5. อุปกรณ์สื่อการเรียน-การสอน ควรจัดให้มีความพร้อมเพรียงกับสัดส่วน

    ของอาจารย์-ครู

    6. การพัฒนาอาจารย์-ครู ควรจัดให้มีความพอเพียงกับสัดส่วนของอาจารย์-ครู

    องค์ประกอบที่ 3. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

    จุดอ่อน 1. นักเรียนหลักสูตรต่างๆ ไม่ทำกิจกรรมนอกเวลาเรียน

    2. ไม่มีการจัดอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้คำแนะนำทางด้านวิชาการ หรือส่ง-

    เสริมการพัฒนาการทางด้านสติปัญญา

    3. ไม่มีแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริม ความสัมพันธ์ กับกลุ่มชนในพื้นที่ที่มี

    การออกฝึกภาคสนาม หรือมีกิจกรรมนอกพื้นที่

    จุดแข็ง 1. ควรจัดให้มีการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างนักเรียนแต่ละหลักสูตรหรือ

    นักเรียนแต่ละหลักสูตรกับอาจารย์-ครู เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน

    2. ควรจัดสอนเสริมให้กับนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจเนื้อหาวิชา หรือนักเรียนที่

    สอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

    3. ควรจัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำ เสนอแนะ แนวทางด้านวิชา

    การแก่นักเรียน

    4. ควรวางแผนจัดกิจกรรมสอดแทรก สำหรับช่วยเหลือ พัฒนากลุ่มชนหรือ

    ประชาชนในพื้นที่ ในโอกาสที่มีการฝึกภาคสนาม หรือมีกิจกรรมนอก

    พื้นที่ เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยทหารกับประชาชน

    องค์ประกอบที่ 4. การบริการทางวิชาการแก่สังคม

    จุดอ่อน 1. ไม่มีแผนงาน/โครงการ เพื่อให้บริการทางวิชาการกับหน่วยงานภายใน

    ทบ.และภายนอก ทบ. อย่างชัดเจน

    2. ไม่มีการร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ กับหน่วยงานภายในและภาย

    นอก ทบ.

    จุดแข็ง 1. อุปกรณ์-เครื่องช่วยฝึก เทคโนโลยีของอาวุธและยานยนต์มีความพร้อม

    2. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทางวิชา

    การให้กับหน่วยงานภายนอกได้

    แนวทางแก้ไข 1. ควรมีการจัดทำแผนงาน/โครงการ เผยแพร่ ให้ความรู้ทางวิชาการกับ

    หน่วยงานภายนอก หรือกลุ่มคนที่อยากรู้

    2. ควรจัดให้มีการสัมมนาทางวิชาการ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี

    ของการเปลี่ยนแปลงให้ทันกับเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ปัจจุบัน

    องค์ประกอบที่ 5. ทรัพยากรการเรียนรู้

    จุดอ่อน 1.ไม่มีห้องสมุดที่ได้มาตรฐานเพื่อการค้นคว้า หาความรู้ให้กับนักเรียน

    2. ไม่มีห้องเรียนที่เป็นมาตรฐาน และทันสมัยเพียงพอกับหลักสูตรต่างๆ

    ที่เข้ารับการศึกษา

    3. ยังไม่มีการจัดระบบเครือข่ายการเรียนรู้ ไม่มีข่ายเชื่อมโยงภายในไม่มี

    การพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนการเรียนรู้

    4. อุปกรณ์-เครื่องช่วยฝึกยังไม่เพียงพอกับสัดส่วนจำนวนผู้เข้ารับการศึกษา

    5. อุปกรณ์-เครื่องช่วยฝึกเทคโนโลยีสูง รวมทั้งยานยนต์ อาวุธเมื่อเกิดความ

    เสียหายชำรุด ไม่สามารถซ่อมแซมได้ทันต้องการ

    จุดแข็ง 1. มีการจัดแบ่งลักษณะงานทางสายวิชาการ และสายเทคนิคออกเป็นแผนก

    ต่างๆอย่างเห็นได้ชัด

    2. อุปกรณ์-เครื่องช่วยฝึกมีเทคโนโลยีสูง เป็นที่ยอมรับของหน่วยงาน

    3. ความน่าเชื่อถือทางด้านเป็นศูนย์รวมของแหล่งความรู้ทางวิชาการทาง

    เหล่าทหารม้า

    แนวทางแก้ไข 1. ควรจัดให้มีห้องสมุดให้ได้มาตรฐาน รวบรวมหนังสือเอกสารอ้างอิง

    ตลอดจนเอกสารเชิงวิชาการในแขนงต่างๆ ให้ทั่วถึง รวมทั้งพัฒนาเจ้า

    หน้าที่ห้องสมุดให้มีความรู้ความสามารถ

    2. ควรมีการจัดหาอุปกรณ์โสตทัศน์วัสดุ เช่น โทรทัศน์และวีดีโอ

    คอมพิวเตอร์และโปรเจคเตอร์ เครื่องฉายสไลค์ ในการช่วยการเรียนการ

    สอนให้พอเพียงและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

    3. ควรมีการจัดระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อระหว่างแผนกเพื่อใช้ใน

    การติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนทางวิชาการ รวมถึงนำมาใช้ประโยชน์

    ในเรื่องของฐานข้อมูล

    องค์ประกอบที่ 6. การบริหารและการจัดการ

    จุดอ่อน 1. การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นลักษณะงานใหม่ที่บุคลากรยังขาดความ

    เข้าใจ และยังไม่เป็นที่ยอมรับของคนบางกลุ่ม ทำให้ขาดความร่วมมือเท่าที่ควร

    2. บุคลากรที่มีความเข้าใจขั้นตอนของงานการประกันคุณภาพการศึกษายังมี

    จำนวนน้อย

      1. ความสมบูรณ์ของหลักการจัดทำงานประกันคุณภาพของแต่ละหน่วยงานยังมีปัจจัยและตัวแปรในการทำงานประกันคุณภาพยังมีความแตกต่างกันอยู่มาก

    จุดแข็ง 1. มีการกำหนดสายงานการบังคับบัญชาเป็นลำดับขั้นอย่างชัดเจน

    2. มีผังการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน และเป็นลายลักษณ์อักษร

    3. มีการปฏิบัติหน้าที่ตามสายงานโดยมีคำสั่งรองรับอย่างชัดเจน

    แนวทางแก้ไข 1. จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการให้กับกำลังพลให้ทราบ ถึงสถานการทำงาน

    ที่สอดคล้องและเกี่ยวข้องกับงานประกันคุณภาพ

    2. ปลูกจิตสำนึกให้บุคลากรมีความรับผิดชอบต่องาน และรักงานที่ทำอยู่

    องค์ประกอบที่ 7. การเงินและงบประมาณ

    จุดอ่อน 1. งบประมาณได้รับต่ำกว่าอัตราที่กำหนดของทางราชการ

    2. การโอนงบประมาณประจำปีล่าช้า

    จุดแข็ง 1. มีงบประมาณใช้จ่ายระหว่างการดำเนินงานของหลักสูตรที่แน่นอน

    2. มีระบบการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณอย่างชัดเจน

    3. เป็นข้อมูลสำหรับจัดทำคำของบประมาณในหลักสูตรต่อไป

    แนวทางแก้ไข 1. เร่งรัดการโอนงบประมาณให้เร็วขั้น

    2. ใช้อัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบกระทรวงการคลังกำหนด

    องค์ประกอบที่ 8. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

    จุดอ่อน 1. ระบบการประกันคุณภาพที่ประกอบด้วยการควบคุม การตรวจสอบคุณ

    ภาพและการประเมินคุณภาพยังไม่มีการกำหนดให้เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน

    2. การจัดระบบประกันคุณภาพที่เอื้ออำนวยต่อการตรวจสอบ และประเมิน

    คุณภาพจากหน่วยงานภายใน และภายนอกยังไม่ชัดเจน

    3. ยังขาดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานแต่ละหน่วยงาน แต่ละระดับใน

    การมีส่วนร่วมในกลไกการประกันคุณภาพทางการศึกษา

     

     

    จุดแข็ง 1. มีคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของแต่ละ

    หน่วยงานอย่างชัดเจน

    2. มีการกำหนดเจ้าหน้าที่จัดทำรายงานการศึกษาตนเอง ของแต่ละหน่วย

    งานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร

    แนวทางแก้ไข 1. ควรมีระบบการประกันคุณภาพที่ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพการ

    ตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ ให้สามารถดำเนินการได้

    อย่างเป็นรูปธรรม

    2. หน่วยเหนือทุกระดับ ควรมีส่วนร่วมในการจัดระบบและกลไกการ

    ประกันคุณการศึกษาให้มาก และควรกำหนดนโยบาย รวมถึงแนะแนว

    ทางการปฏิบัติให้กับหน่วยรอง ให้มีความชัดเจนในการปฏิบัติ

    หมายเหตุ : เริ่มจัดทำตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 จึงยังไม่มีข้อมูลเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2544

     

     

     

    .

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

     

    ส่วนที่ 5

    การนำไปใช้ประโยชน์ แผนพัฒนาการศึกษา

    การนำไปใช้ประโยชน์การบริหารงานในปีงบประมาณ 2545 ได้นำข้อมูลที่ได้จาก ส่วนที่ 4 มาดำเนินการพอสรุปได้ดังนี้

    องค์ประกอบที่ 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนงาน

    กำลังพลได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาน้อย จึงได้พัฒนาเพื่อแก้ไขจุดอ่อน

      1. จัดกำลังพลเข้าร่วมการสัมมนาทางวิชาการในเรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษา แล้วนำมาขยายผลให้กำลังพลภายในหน่วยได้รู้ และเข้าใจมากขึ้น
      2. เชิญวิทยากรภายนอกมาบรรยายให้ความรู้ทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
      3. เผยแพร่ เอกสาร ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

    องค์ประกอบที่ 2 การจัดการเรียนการสอน

    2.1 ได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา จำนวน 25 หลักสูตร

    2.1.1 หลักสูตรตามแนวทางรับราชการ จำนวน 2 หลักสูตร

    2.1.2 หลักสูตรตามความชำนาญการทหาร (ชกท.) จำนวน 23 หลักสูตร

      1. พัฒนาสื่อการเรียนการสอน โดยใช้เครื่องมืออิเลคทรอนิคส์เข้ามาช่วย เช่น เครื่องฉาย Projector เครื่องฉายแบบทึบ (Visualizer ) รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบห้องเรียน ได้เสนอเป็นโครงการให้กับ ยศ.ทบ. แต่ยังไม่ได้รับเนื่องจากติดขัดด้านงบประมาณ
      2. การทดสอบความรู้ก่อนเข้ารับการศึกษา สำหรับผู้เข้ารับการศึกษา ของหลักสูตรตามแนวทางรับราชการ ยังกระทำอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ได้รับผู้เข้ารับการศึกษาที่มีพื้นฐานความรู้ที่ดี และพร้อมสำหรับรับการศึกษาตามหลักสูตร

    องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

      1. ได้จัดให้มีกิจกรรมร่วมกัน ระหว่าง นักเรียนของ รร.ม.ศม. กับ นักเรียนของ รร.ป.ศป. เช่น การแข่งขันกีฬาเชื่อมความสามัคคี
      2. จัดให้มีอาจารย์ทำหน้าที่นายทหารกำกับหลักสูตร เพื่อให้คำแนะนำด้านวิชาการแก่นักเรียน

     

     

     

    องค์ประกอบที่ 4 การบริการทางวิชาการ

      1. มีการให้บริการทางวิชาการแก่หน่วยทหารม้า อย่างต่อเนื่องแต่มิได้รวบรวมเขียนเป็นแผนงาน และบันทึกในแง่ สถิติ และปริมาณงาน
      2. จัดการอบรมการใช้อาวุธรถถังด้วยเครื่องช่วยฝึกแบบ TACOS แก่หน่วยทหารม้าเพิ่มเติม นอกเหนือจากแผนงานการศึกษาประจำปี

    องค์ประกอบที่ 5 ทรัพยากรการเรียนรู้

      1. ได้ย้ายห้องสมุดมาตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ของ กศ.รร.ม.ศม. เพื่อให้นักเรียนได้ค้นคว้า หาความรู้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
      2. จัดให้มีระบบค้นหาข้อมูลโดยใช้ INTERNET ให้กับแผนกวิชาของ กศ.รร.ม.ศม. เพื่อให้ ครู/อาจารย์ และผู้เรียนได้ค้นหาความรู้ ได้อย่างรวดเร็ว
      3. จัดให้มีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน แต่ไม่สามารถใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เนื่องจากยังขาดผู้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้งาน

    องค์ประกอบที่ 6 การบริหารและการจัดการ

      1. การบริหารและการจัดการของ รร.ม.ศม. มีความชัดเจน การดำเนินงาน ได้พัฒนางานขึ้นโดยการจัดการบันทึกรายงาน และการเก็บเอกสารให้สามารถตรวจสอบ การดำเนินงานได้ทุกขั้นตอน และค้นหาได้อย่างรวดเร็ว

    องค์ประกอบที่ 7 การเงินและงบประมาณ

      1. รร.ม.ศม. ได้รับการจัดสรรงบประมาณน้อยกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด เช่นได้รับการอนุมัติให้เบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางในอัตราประเภท ข. ซึ่งตามระเบียบกระทรวงการคลังกำหนดเป็นประเภท ก. ( ในการที่ เดินทางไปต่างจังหวัด ) นอกจากนี้ งบประมาณค่าเครื่องช่วยฝึกรายหัวของผู้เรียน ได้รับการจัดสรรเพียง 70% ของอัตรา แต่อย่างไรก็ตาม รร.ม.ศม. ได้เพิ่มมาตรการต่าง ๆ ในการบริหารงบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ผู้เรียน

    องค์ประกอบที่ 8 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

      1. ได้จัดวางระบบและกลไก การประกันคุณภาพการศึกษา โดยจัดตั้งคณะกรรมการ ฯ , คณะอนุกรรมการ ฯ , คณะทำงาน ฯ รวมทั้ง สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อรองรับงาน ทำให้เกิดการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม
      2. ผบ.รร.ม.ศม. เล็งเห็นความสำคัญ จึงออกคำสั่ง ศม.ที่ 576/2545 ลง 19 ธ.ค.45 เรื่อง แผนงานหลักการพัฒนา การฝึกศึกษาเป็นเลิศ ของศูนย์การทหารม้า พ.ศ.2545 - 2548